ปัญหาและแนวทางแก้ไข้กรณีสารต้านจุลชีพตกค้างในกุ้งไทย / เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต.

By: เปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต
Material type: ArticleArticleSubject(s): ปฏิชีวนะในโภชนาการสัตว์ In: ราชบัณฑิตยสถาน 27,4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2545) 1183-1185.Summary: การที่คณะกรรมการ Codex ได้มีมติให้สารต้านจุลชีพ 10 ขนานเป็นสารต้องห้ามในกระบวนการผลิตสัตว์ที่เป็นอาหารมนุษย์ และวิวัฒนาการเทคนิคการวิเคราะห์สารต้านจุลชีพตกค้างในอาหารได้ทำให้ตรวจพบการปนเปื้อนระดับต่ำของสารไนโตรฟูแรนส์ และคลอแรมเฟนิคอล ในกุ้งที่ส่งออกจากหลายประเทศในเอเชีย ปริมาณที่ตรวจพบได้นั้นยังไม่อาจสรุปได้ว่าเกิดจากการปนเปื้อนในกระบวนการผลิตจริงหรือไม่ จึงควรมีการวิจัยอย่างละเอียด รวมทั้งควรมีการประเมินความถูกต้อง และเป็นที่ยอมรับของการวิเคราะห์ นอกจากนี้กระบวนการผลิตกุ้งจะต้องเน้นการเพาะเลี้ยงแบบชีวภาพ โดยไม่มีการใช้สารต้านจุลชีพ
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การที่คณะกรรมการ Codex ได้มีมติให้สารต้านจุลชีพ 10 ขนานเป็นสารต้องห้ามในกระบวนการผลิตสัตว์ที่เป็นอาหารมนุษย์ และวิวัฒนาการเทคนิคการวิเคราะห์สารต้านจุลชีพตกค้างในอาหารได้ทำให้ตรวจพบการปนเปื้อนระดับต่ำของสารไนโตรฟูแรนส์ และคลอแรมเฟนิคอล ในกุ้งที่ส่งออกจากหลายประเทศในเอเชีย ปริมาณที่ตรวจพบได้นั้นยังไม่อาจสรุปได้ว่าเกิดจากการปนเปื้อนในกระบวนการผลิตจริงหรือไม่ จึงควรมีการวิจัยอย่างละเอียด รวมทั้งควรมีการประเมินความถูกต้อง และเป็นที่ยอมรับของการวิเคราะห์ นอกจากนี้กระบวนการผลิตกุ้งจะต้องเน้นการเพาะเลี้ยงแบบชีวภาพ โดยไม่มีการใช้สารต้านจุลชีพ

There are no comments on this title.

to post a comment.
    ARIT Muban Chombueng Rajabhat University
    46 Chombueng, Chombueng, Ratchaburi 70150, Thailand
    ☎ 0-3226-1790-7, 0-3226-1078