การเปรียบเทียบปริมาณสารประกอบโพลีฟีนอลทั้งหมดและศักยภาพการต้านปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารสกัดจากเมล็ดพืชตระกูลส้มสายพันธุ์ต่างๆ ที่ปลูกในประเทศไทย = Comparison of total polyphenol content and antioxidant potential of extracts obtained from seeds of different citrus fruits cultivated in Thailand \ c / ประพันะ ปิ่นศิโรดม และวันทนีย์ ช้างน้อย.

By: ประพันธ์ ปิ่นศิโรดม
Contributor(s): วันทนีย์ ช้างน้อย
Material type: ArticleArticleSubject(s): ส้ม -- วิจัย In: อาหาร 32,4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2545) 300-305.Summary: จากการวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบโพลีฟีนอลทั้งหมดในเมล็ดพืชตระกูลส้มที่ปลูกในประเทศไทย 7 ชนิด ได้แก่ ส้มเขียวหวาน ส้มฟรีมองต์ ส้มสายน้ำผึ้ง ส้มโชกุน มะนาว ส้มโอทองดี และส้มโอขาวน้ำผึ้ง พบว่า เมล็ดส้มเขียวหวานมีปริมาณสารประกอบโพลีฟีนอลสูงที่สุด คือ 170.3_+4.6 มิลลิกรัมของกรดแกลลิค/100 กรัม เมล็ดแห้ง รองลงมาคือ เมล็ดส้มฟรีมองต์ ส้มโชกุน ส้มสายน้ำผึ้ง ส้มโอขาวน้ำผึ้ง ส้มโอทองดี และมะนาว โดยมีปริมาณเป็น 157.3_+1.3 130_+2.0 123.1_+3.4 112.6_+2.1 108.1_+2.6 และ 101._+2.1 มิลลิกรัมของกรดแคลลิค/100 กรัมเมล็ดแห้ง ตามลำดับ.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

จากการวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบโพลีฟีนอลทั้งหมดในเมล็ดพืชตระกูลส้มที่ปลูกในประเทศไทย 7 ชนิด ได้แก่ ส้มเขียวหวาน ส้มฟรีมองต์ ส้มสายน้ำผึ้ง ส้มโชกุน มะนาว ส้มโอทองดี และส้มโอขาวน้ำผึ้ง พบว่า เมล็ดส้มเขียวหวานมีปริมาณสารประกอบโพลีฟีนอลสูงที่สุด คือ 170.3_+4.6 มิลลิกรัมของกรดแกลลิค/100 กรัม เมล็ดแห้ง รองลงมาคือ เมล็ดส้มฟรีมองต์ ส้มโชกุน ส้มสายน้ำผึ้ง ส้มโอขาวน้ำผึ้ง ส้มโอทองดี และมะนาว โดยมีปริมาณเป็น 157.3_+1.3 130_+2.0 123.1_+3.4 112.6_+2.1 108.1_+2.6 และ 101._+2.1 มิลลิกรัมของกรดแคลลิค/100 กรัมเมล็ดแห้ง ตามลำดับ.

There are no comments on this title.

to post a comment.
    ARIT Muban Chombueng Rajabhat University
    46 Chombueng, Chombueng, Ratchaburi 70150, Thailand
    ☎ 0-3226-1790-7, 0-3226-1078