ความคุ้มค่าจากสารประกอบคอนเดนซ์แทนนินในพืชโปรตีนอาหารสัตว์สำหรับสัตว์เคี้ยวเอื้อง (Record no. 8382)

000 -LEADER
fixed length control field 04191 ab a2200157 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000008384
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field MTX
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 030330 2545 f 0 0eng
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0011-15060
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201208301722
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
-- 200912141907
-- VLOAD
100 ## - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name ปราโมทย์ แพงคำ.
9 (RLIN) 3709
245 ## - TITLE STATEMENT
Title ความคุ้มค่าจากสารประกอบคอนเดนซ์แทนนินในพืชโปรตีนอาหารสัตว์สำหรับสัตว์เคี้ยวเอื้อง
Statement of responsibility, etc. / ปราโมทย์ แพงคำ.
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. แทนนิน จัดเป็นสารประกอบโพลีฟืนอล ซึ่งพบในส่วนต่าง ๆ ของพืช แทนนินสามารถละลายได้ในน้ำ โดยมีน้ำหนักโมเลกุลอยู่ระหว่าง 500 ถึง 5,000 โดยทั่ว ๆ ไปแล้วสารประกอบแทนนินจัดเป็น 2 ประเภท คือ ไฮโดรไลเซเบิลแทนนิน (hydrolyzable tannin) และคอนเดนซ์แทนนิน ในพืชหลายชนิด พบว่าแทนนินมีความสามารถในการป้องกันการทำลายของแบคทีเรีย เชื้อราและแมลงกัดกินเป็นอาหารในระดับที่สูงของแทนนิน (5-9% ของอาหาร)พบว่าทำให้ความสามรถในการย่อยอาหารได้ของสัตว์เคี้ยวเอื้องลดลง เนื่องจากแทนนินไปขัดขวางการย่อยอาหารของจุลินทรีย์ในกระเพาะรูเมน และยังทำให้กาารกินได้ของสัตว์ลดลงความเป็นไปได้ ในการใช้แทนนินจึงควรอยู่ระหว่าง 2-4% ของน้ำหนักแห้งอาหาร เนื่องจากแทนนินจะเกาะกันอยู่กับโปรตีนที่ระดับนี้ สามารถป้องกันการย่อยได้ของโปรตีนในกระเพาะรูเมน และเป็นระดับที่ไม่มีผลกระทบต่อการกินได้ของสัตว์ เมื่อแทนนินรวมตัวโปรตีนในน้ำกลายเป็นสารประกอบโปรตีน-แทนนินผ่านกระเพาะรูเมนไปถึงลำไส้เล็กโปรตีนและแทนนินจะถูกแยกพันธะจากนั้นโปรตีนจะถูกย่อยและดูดซึมไปใช้ประโยชน์ นอกจากนี้การเสริมแทนนินในระดับ 2.2 และ 5.5% ของอาหารจากพืชพวกบัว (Lotus spp.) พบว่าสามารถป้องกันการย่อยอาหารในกระเพาะรูเมน และยังพบว่ากรดอะมิโนที่จำเป็นทีผ่านไปยังลำไส้เล็กเพิ่มขึ้น นอกจากนี้แทนนินยังสามารป้องกันการเกิดภาวะท้องอืดในสัตว์เคี้ยวเอื้องได้ด้วย.
650 ## - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element พืชอาหารสัตว์
General subdivision วิจัย.
9 (RLIN) 9441
773 ## - HOST ITEM ENTRY
Title วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร์
Related parts 10,1 (มกราคม-มิถุนายน 2545) 20-25.

No items available.

    ARIT Muban Chombueng Rajabhat University
    46 Chombueng, Chombueng, Ratchaburi 70150, Thailand
    ☎ 0-3226-1790-7, 0-3226-1078