000 03722 am a2200181 4500
001 vtls000018690
003 MTX
008 060526 2548 00 eng
035 _a0021-49860
039 9 _a201208302027
_bVLOAD
_y200912142133
_zVLOAD
100 _aบุญเลิศ วงศ์พรม.
_97870
245 _aความคล้ายคลึงกันทางโครงสร้างและรูปแบบของภาษาอังกฤษและภาษาบาลี
_c/ บุญเลิศ วงศ์พรม
520 _aภาษาบาลี กับภาษาอังกฤษ ต่างมีต้นกำเนิดมาจากตระกูลภาษาเดียวกันได้แก่ ตระกูลภาษาอินโดยูโรเปียน (Indo3European) ด้วยเหตุนี้จึงมีรูปลักษณะบางส่วนที่คล้ายคลึงกัน เพียงแต่ชื่อเรียกอาจแตกต่างกัน และรูปแบบโครงสร้างในการเรียงคำ (Word Order) ในประโยคก็ไม่เหมือนกัน กล่าวคือ ภาษาอังกฤษเป็นแบบ ประธานกริยา+กรรม (SVO) ส่วนภาษาบาลีกลับมีรูปแบบของการเรียงคำเปนแบบ ประธาน+กรรม+กริยา (SOV) และภาษาบาลีมีการแจกรูปตามวิภัตติ ยิ่งหากผู้เรียนได้มีโอกาสได้ศึกษาในรายละเอียดของทั้งสองภาษา ก็จะเห็นความต่างและความเหมือนที่ปรากฏในภาษาทั้งสอง และหากนำเอาโครงสร้างทางภาษาศาสตร์มาเปรียบเทียบกันก็จะพบว่า
520 _aทั้งสองภาษามีความคล้ายคลึงกันในหลายๆ ส่วนเพียงแต่มีชื่อเรียกต่างกันเท่านั้นเอง ซึ่งมันจะเป็นประโยชน์อย่างเมื่อเราต้องการเรียนรู้ในด้านโครงสร้างของอีกภาษาหนึ่ง ยกตัวอย่างเช่น Case ในภาษาอังกฤษ แต่ภาษาบาลีเรียกว่าวิภัตติ, หรือภาษาอังกฤษเรียก Adjective แต่ภาษาบาลีเรียกว่า วิเสสนะทั้งนี้ความหมายของทั้งสองคำก็มีความหมายอันเดียวกัน คือตัวที่ทำหน้าที่ขบายคำนามที่ตามหลังมันมา แต่รูปแบบของวิเสสนะหรือ Adjective นั้นทำหน้าที่ขยายคำใดจะวางไว้หน้าคำนามคำนั้น
650 _aภาษาบาลี
_xโครงสร้าง.
_920674
650 _aภาษาอังกฤษ
_xโครงสร้าง.
_920675
773 _tศรีปทุมปริทัศน์
_g5,1 (ม.ค-มิ.ย 2548) 43-53.
999 _c18684
_d18684