000 04182 ab a2200169 4500
001 vtls000010131
003 MTX
008 031001 2546 b 0 0eng
035 _a0012-91260
039 9 _a201208301759
_bVLOAD
_y200912141934
_zVLOAD
100 _aนิตยา กมลวัทนนิศา.
_911227
245 _aยุทธศาสตร์การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
_c/ นิตยา กมลวัทนนิศา และนิสวันต์ พิชญ์ดำรง.
520 _aยุทธศาสตร์ชาติในเรื่องการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันนั้น ผู้ที่จะพลักดันให้เกิดผลได้อย่างจริงจัง คือภาคเอกชนหรือประชาชนรัฐมีหน้าที่เพียงเป็นผู้อำนวยความสะดวก (Facilitator) หรือผู้ริเริ่ม (Initiatior) เท่านั้น เนื่องจากหากให้เอกชนเป็นผู้ริเริ่ม บางครั้งจะคิดแบบตัวใครตัวมัน ไม่ได้มองในภาพรวม จากนั้นจึงให้เอกชนสานต่อ โดยรัฐอาจทำหน้าที่เป็นผู้เชื่อมต่อให้กับ เอกชนด้วย รัฐไม่ควรเข้าไปจัดการเองในทุกกเรื่อง นอกจากนี้จะต้องคำนึงอยู่เสมอว่าการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเป็นกลยุทธ์ (strategy) ซึ่งมีความแตกต่างจากการพัฒนา (Developnent) คือในเรื่องกลยุทธ์จะต้องมีการกำหนดการเลือกว่าแต่ละทางเลือกมีข้อดีข้อเสียอย่างไร แล้วจึงตัดสินใจเลือกทางที่เหมาะสมที่สุด การสร้างความเข้าใจถูกต้องตรงกัน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมเป็นสิ่งสำคัญมาก เพื่อให้เกิด ความเข้าใจ ร่วมกัน (Common Ground)จากนั้นจึงมาพิจารณาร่วมกันว่า ต้องการสิ่งใด ไม่ต้องการสิ่งใด เกิดเป็นเป้าหมายร่วมกัน (Common Goal) แล้วจึงพิจารณาว่าถ้าจะไปให้ถึงเป้าหมายจะต้องทำอย่างไร และกำหนดความรับผิดชอบ (Commitment) ภายใต้การวาดฝัน (Vision) เพื่อให้ประเทศมุ่งสู่เป้าหมายที่ต้องการบนพื้นฐานของความเป็นไปได้จริง ซึ่งทั้งหมดนี้ จะนำไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทสและก่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในที่สุด.
650 _aการพัฒนาเศรษฐกิจ.
_91042
700 _aนิสวันต์ พิชญ์ดำรง.
_911229
773 _tเศรษฐกิจและสังคม
_g40,1 (มีนาคม -เมษายน 2546) 9-14.
999 _c10126
_d10126