ระบบการแบ่งแยกอำนาจและระบบความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรที่ใช้อำนาจอธิปไตยตามแนวคิดของมองเตสกิเออ / ถาวร เกียรติทับทิว.

By: ถาวร เกียรติทับทิว
Material type: TextTextSubject(s): รัฐสภา | การแบ่งแยกอำนาจ | คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ In: ศาลรัฐธรรมนูญ 4,11 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2545) 94-113.Summary: ทฤษฎีแบ่งแยกอำนาจและถ่วงดุลอำนาจของมองเตสกิเออนั้นมีความสำคัญต่อระบบการเมืองการปกครองของประเทศเสรีประชาธิปไตย ซึ่งมักจะปรากฏเป็นรากฐานของรัฐธรรมนูญของประเทศนั้นๆ ในรูปขององคาพยพที่ใช้อำนาจนิติบัญญัติบริหารและตุลาการ รวมทั้งความสัมพันธ์กันขององค์กรที่ใช้อำนาจในองคาพยพนั้น การเข้าใจระบบการแบ่งแยกอำนาจดังกล่าวจะช่วยทำให้ประเทศที่รับแนวคิดของมองเตสกิเออไปปฏิบัติไม่เพียงแต่มีองคาพยพการปกครองประชาชนที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเท่านั้น แต่จะเป็นหลักประกันสิทธิเสรีภาพให้กับประชาชนให้รอดพ้นจากการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรทั้งหลายที่อาจฉ้อฉลอำนาจได้ทุกเมื่อ
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ทฤษฎีแบ่งแยกอำนาจและถ่วงดุลอำนาจของมองเตสกิเออนั้นมีความสำคัญต่อระบบการเมืองการปกครองของประเทศเสรีประชาธิปไตย ซึ่งมักจะปรากฏเป็นรากฐานของรัฐธรรมนูญของประเทศนั้นๆ ในรูปขององคาพยพที่ใช้อำนาจนิติบัญญัติบริหารและตุลาการ รวมทั้งความสัมพันธ์กันขององค์กรที่ใช้อำนาจในองคาพยพนั้น การเข้าใจระบบการแบ่งแยกอำนาจดังกล่าวจะช่วยทำให้ประเทศที่รับแนวคิดของมองเตสกิเออไปปฏิบัติไม่เพียงแต่มีองคาพยพการปกครองประชาชนที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเท่านั้น แต่จะเป็นหลักประกันสิทธิเสรีภาพให้กับประชาชนให้รอดพ้นจากการใช้อำนาจรัฐโดยองค์กรทั้งหลายที่อาจฉ้อฉลอำนาจได้ทุกเมื่อ

There are no comments on this title.

to post a comment.
    ARIT Muban Chombueng Rajabhat University
    46 Chombueng, Chombueng, Ratchaburi 70150, Thailand
    ☎ 0-3226-1790-7, 0-3226-1078