การใช้เซลล์พืชเพาะเลี้ยงสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูง / เกรียงศักดิ์ เลิศประภามงคล.

By: เกรียงศักดิ์ เลิศประภามงคล
Material type: ArticleArticleSubject(s): การเพาะเลี้งเนื้อเยื่อพืช In: LAB.TODAY 2,10 (พฤษภาคม 2546) 20 - 24.Summary: เราสามารถที่จะนำเนื้อเยื่อส่วนหนึ่งส่วนใดจากต้นไม้มาเพาะเลี้ยงให้โตขึ้นมากลายเป็นต้นใหม่ที่เหมือนต้นไม้เดิมได้ คุณสมบัติพิเศษนี้เรียกว่า totipotency ซึ่งไม่มีในเซลล์มนุษย์และสัตว์ ดังนั้นถ้าเราอยากจะได้ร้างใหม่ที่เหมือนร่างเดิมก็ต้องใช้วิธีโคลนนิ่งแทน เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเข้ามาในประเทศไทยเรานานแล้ว ส่วนใหญ่นำไปใช้ในการเพาะขยายพันธุ์พืชจากต้นที่มีคุณสมบัติที่ดี เพื่อให้ได้ต้นใหม่ที่คงคุณสมบัติไว้ได้ตามต้องการเป็นจำนวนมาก ๆ เช่น การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไปเป็นการเพาะเลี้ยงเซลล์พืช เพื่อใช้ในการผลิตที่มีมูลค่าสูงจากเซลล์พืชเพาะเลี้ยงมานานแล้ว.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

เราสามารถที่จะนำเนื้อเยื่อส่วนหนึ่งส่วนใดจากต้นไม้มาเพาะเลี้ยงให้โตขึ้นมากลายเป็นต้นใหม่ที่เหมือนต้นไม้เดิมได้ คุณสมบัติพิเศษนี้เรียกว่า totipotency ซึ่งไม่มีในเซลล์มนุษย์และสัตว์ ดังนั้นถ้าเราอยากจะได้ร้างใหม่ที่เหมือนร่างเดิมก็ต้องใช้วิธีโคลนนิ่งแทน เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเข้ามาในประเทศไทยเรานานแล้ว ส่วนใหญ่นำไปใช้ในการเพาะขยายพันธุ์พืชจากต้นที่มีคุณสมบัติที่ดี เพื่อให้ได้ต้นใหม่ที่คงคุณสมบัติไว้ได้ตามต้องการเป็นจำนวนมาก ๆ เช่น การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไปเป็นการเพาะเลี้ยงเซลล์พืช เพื่อใช้ในการผลิตที่มีมูลค่าสูงจากเซลล์พืชเพาะเลี้ยงมานานแล้ว.

There are no comments on this title.

to post a comment.
    ARIT Muban Chombueng Rajabhat University
    46 Chombueng, Chombueng, Ratchaburi 70150, Thailand
    ☎ 0-3226-1790-7, 0-3226-1078