การแยกและการคัดเลือกเชื้อแอคติโนมัยซีสที่สามารถสร้างสารปฏิชีวนะในดินจากแหล่งโบราณสถานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา / นพดล แกมเพชร, ยุวดี ด่านสอดแนม และจิรวรรณ สรุปราษฎร์.

By: นพดล แกมเพชร
Contributor(s): ยุวดี ด่านสอดแนม | จิรวรรณ สรุปราษฎร์
Material type: ArticleArticleSubject(s): ดิน -- พระนครศรีอยุธยา -- วิจัย In: ราชภัฏกรุงเก่า ฉบับพิเศษ (สัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ 2545) 83-90.Summary: การศึกษาตัวอย่างดินบริเวณโบราณสถาน จ.พระนครศรีอยุธยา 45 ตัวอย่าง สามารถแยกเชื้อแอคติโนมัยซีสได้ทั้งหมด 125 ไอโซแลต เมื่อนำมาตรวจสอบสามารถสร้างสารปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียทดสอบ 5 ชนิด ด้วยวิธี disc diffusion พบว่าเชื้อแอคติโนมัยซีส 39 ไอโซแลตที่ผลิตสารปฏิชีวนะได้มี B. subtilis เป็นเชื้อทดสอบที่ไวกว่าสารปฏิชีวนะมากที่สุด รองลงมา คือ S. aureus ATcc 29213, E. faecium ATcc 29212 และ E. coli ACTT 25922 ไม่มีไอโซแลตใดสามารถยับยั้งการเจริญของ PS. aeruginosaATCC 27853 ได้ เมื่อนำไปผลิตสารปฏิชีวนะได้ดีที่สุดคือ ไอโซแลต K S2-2
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การศึกษาตัวอย่างดินบริเวณโบราณสถาน จ.พระนครศรีอยุธยา 45 ตัวอย่าง สามารถแยกเชื้อแอคติโนมัยซีสได้ทั้งหมด 125 ไอโซแลต เมื่อนำมาตรวจสอบสามารถสร้างสารปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียทดสอบ 5 ชนิด ด้วยวิธี disc diffusion พบว่าเชื้อแอคติโนมัยซีส 39 ไอโซแลตที่ผลิตสารปฏิชีวนะได้มี B. subtilis เป็นเชื้อทดสอบที่ไวกว่าสารปฏิชีวนะมากที่สุด รองลงมา คือ S. aureus ATcc 29213, E. faecium ATcc 29212 และ E. coli ACTT 25922 ไม่มีไอโซแลตใดสามารถยับยั้งการเจริญของ PS. aeruginosaATCC 27853 ได้ เมื่อนำไปผลิตสารปฏิชีวนะได้ดีที่สุดคือ ไอโซแลต K S2-2

There are no comments on this title.

to post a comment.
    ARIT Muban Chombueng Rajabhat University
    46 Chombueng, Chombueng, Ratchaburi 70150, Thailand
    ☎ 0-3226-1790-7, 0-3226-1078