รัฐธรรมนูญกับภาพลักษณ์ : สัญลักษณ์ในการสื่อสารทางการเมืองในการเมืองไทย / มานิตย์ นวลละออ.

By: มานิตย์ นวลละออ
Material type: ArticleArticleSubject(s): รัฐธรรมนูญ -- ไทย In: สังคมศาสตร์และมนุษศาสตร์ 28 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2545) 1-6.Summary: การที่รัฐธรรมนูญไทยขาดเสถียรภาพนั้น มิได้เกิดจากความไม่เหมาะสมของบทบัญญัติเป็นสำคัญ หากแต่เกิดจากทัศนคติ พฤติกรรมและผลประโยชน์ของนักการเมืองมากกว่า ดังนั้นแม้ว่าจะร่างรัฐธรรมนูญให้ดีเลิศเพียงใดก็ตาม แต่ถ้านักการเมืองขาดวิสัยทัศน์ ขาดความรับผิดชอบต่อชาติบ้านเมือง และขณะเดียวกันหากประชาชนขาดความสำนึกต่อสิทธิและหน้าที่แล้ว ก็คงป้องกันการล้มเลิกไม่ได้ และรัฐธรรมนูญคงถูกอ้างเพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์อยู่เรื่อยไป จึงทำให้ความสำคัญของรัฐธรรมนูญในฐานะที่เป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐต้องหมดความหมาย และกลายเป็นภาพลักษณ์ของ สิ่งชั่วร้าย อันเนื่องมาจากพฤติกรรมของนักการเมือง
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การที่รัฐธรรมนูญไทยขาดเสถียรภาพนั้น มิได้เกิดจากความไม่เหมาะสมของบทบัญญัติเป็นสำคัญ หากแต่เกิดจากทัศนคติ พฤติกรรมและผลประโยชน์ของนักการเมืองมากกว่า ดังนั้นแม้ว่าจะร่างรัฐธรรมนูญให้ดีเลิศเพียงใดก็ตาม แต่ถ้านักการเมืองขาดวิสัยทัศน์ ขาดความรับผิดชอบต่อชาติบ้านเมือง และขณะเดียวกันหากประชาชนขาดความสำนึกต่อสิทธิและหน้าที่แล้ว ก็คงป้องกันการล้มเลิกไม่ได้ และรัฐธรรมนูญคงถูกอ้างเพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์อยู่เรื่อยไป จึงทำให้ความสำคัญของรัฐธรรมนูญในฐานะที่เป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐต้องหมดความหมาย และกลายเป็นภาพลักษณ์ของ สิ่งชั่วร้าย อันเนื่องมาจากพฤติกรรมของนักการเมือง

There are no comments on this title.

to post a comment.
    ARIT Muban Chombueng Rajabhat University
    46 Chombueng, Chombueng, Ratchaburi 70150, Thailand
    ☎ 0-3226-1790-7, 0-3226-1078