ผู้สูงอายุกับการช่วยเหลือเป็นหน้าที่ของใคร / กนิษฐา กล่อมเกลา.

By: กนิษฐา กล่อมเกลา
Material type: ArticleArticleSubject(s): ผู้สูงอายุ -- การดูแล In: วิทยาศาสตร์ ฉบับสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ 2545 (ส่วนภูมิภาค) 2-6.Summary: ปกติแล้วลูกหลานถือว่าเป็นญาติใกล้ชิด มีโอกาสดูแลใหความช่วยเหลือผู้สูงอายุได้หลายอย่าง สิ่งที่ลูกหลานน่าจะดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุหลายอย่าง เช่น ให้ความอบอุ่น ให้ความรักและห่วงใย ไม่ควรทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าลูกหลานต้องแบกภาระ เหนื่อยยากเพราะผู้สูงอายุ ช่วยดูแลเรื่องที่พัก อาหาร เครื่องนุ่งห่ม เสื้อผ้า แนะนำหรือพท่านไปตรวจสุขภาพประจำปี ถ้าเจ็บป่วยควรพาไปรักษา สนับสนุนให้เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา เป็นต้น ผู้สูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านอารมณ์และจิตใจนอกจากนี้หากพบว่าผู้สูงอายุมีอาการผิดปกติต่างๆ ควรไปปรึกษาแพทย์ เช่นอาการเสียงแหบหรือไอติดต่อกันนานๆ หายใจไม่ออก ปวดท้องเป็นๆ หายๆ เจ็บหน้าอก เป็นต้น การที่จะทำให้ผู้สูงอายุอยู่อย่างมีความสุข ย่อยหมายถึงว่า ผู้สูงอายุจะต้องมีสุขภาพดีทั้งกายและใจ อยู่ในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรีและเหมาะสม
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ปกติแล้วลูกหลานถือว่าเป็นญาติใกล้ชิด มีโอกาสดูแลใหความช่วยเหลือผู้สูงอายุได้หลายอย่าง สิ่งที่ลูกหลานน่าจะดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุหลายอย่าง เช่น ให้ความอบอุ่น ให้ความรักและห่วงใย ไม่ควรทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าลูกหลานต้องแบกภาระ เหนื่อยยากเพราะผู้สูงอายุ ช่วยดูแลเรื่องที่พัก อาหาร เครื่องนุ่งห่ม เสื้อผ้า แนะนำหรือพท่านไปตรวจสุขภาพประจำปี ถ้าเจ็บป่วยควรพาไปรักษา สนับสนุนให้เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา เป็นต้น ผู้สูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านอารมณ์และจิตใจนอกจากนี้หากพบว่าผู้สูงอายุมีอาการผิดปกติต่างๆ ควรไปปรึกษาแพทย์ เช่นอาการเสียงแหบหรือไอติดต่อกันนานๆ หายใจไม่ออก ปวดท้องเป็นๆ หายๆ เจ็บหน้าอก เป็นต้น การที่จะทำให้ผู้สูงอายุอยู่อย่างมีความสุข ย่อยหมายถึงว่า ผู้สูงอายุจะต้องมีสุขภาพดีทั้งกายและใจ อยู่ในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรีและเหมาะสม

There are no comments on this title.

to post a comment.
    ARIT Muban Chombueng Rajabhat University
    46 Chombueng, Chombueng, Ratchaburi 70150, Thailand
    ☎ 0-3226-1790-7, 0-3226-1078