สารเคมีชีวภาพโบทูลินัมกับการรักษาโรค / นิพนธ์ พวงวรินทร์.

By: นิพนธ์ พวงวรินทร์
Material type: ArticleArticleSubject(s): สารเคมี | การรักษาโรค In: ราชบัณฑิตยสถาน 27,3 (กรกฎาคม-กันยายน 2545) 848-857.Summary: การใช้สารเคมีชีวภาพโบทูลินัมในการรักษาผู้ป่วยเป็นความก้าวหน้าทางอายุรกรรมในช่วงเวลา 20 ปีที่ผ่านไป การใช้สารเคมีชีวภาพโบทูลินัมเพื่อบำบัดโรคเริ่มต้นผู้ป่วยรายแรกของโลกเมื่อ พ.ศ. 2520 โดยใช้รักษาโรคตาเหล่ ต่อมาได้มีการเพิ่มข้อบ่งชี้ในการใช้สารนี้รักษาโรคทางระบบอื่นๆ เช่น ภาวะตากระพริบถี่หรือค้าง โรคใบหน้ากระตุกครึ่งซีก โรคคอเอียงหรือคอบิดเกร็ง โรคตะคริวมือนักเขียน และภาวะที่มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ ที่เกิดจากสาเหตุต่างๆ ปัจจุบันนี้มีข้อบ่งชี้ของการใช้สารเคมีชีวภาพโบทูลินัมในการรักษาโรคมากกว่า 50 ข้อ ซึ่งรวมทั้งโรคระบบทางเดินอาหารที่มีการหดเกร็งของหูรูดต่างๆ โรคทางโสต ศอ นาสิก และลาริงซ์ คือการพูดลำบากชนิดเกร็ง และภาวะปวดกล้ามเนื้อต่างๆ ตลอดถึงการใช้ในด้านความสวยงาม เช่น การลบรอยย่นที่หน้าผาก และรอยตีนกาในผู้สูงอายุได้ด้วย
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การใช้สารเคมีชีวภาพโบทูลินัมในการรักษาผู้ป่วยเป็นความก้าวหน้าทางอายุรกรรมในช่วงเวลา 20 ปีที่ผ่านไป การใช้สารเคมีชีวภาพโบทูลินัมเพื่อบำบัดโรคเริ่มต้นผู้ป่วยรายแรกของโลกเมื่อ พ.ศ. 2520 โดยใช้รักษาโรคตาเหล่ ต่อมาได้มีการเพิ่มข้อบ่งชี้ในการใช้สารนี้รักษาโรคทางระบบอื่นๆ เช่น ภาวะตากระพริบถี่หรือค้าง โรคใบหน้ากระตุกครึ่งซีก โรคคอเอียงหรือคอบิดเกร็ง โรคตะคริวมือนักเขียน และภาวะที่มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ ที่เกิดจากสาเหตุต่างๆ ปัจจุบันนี้มีข้อบ่งชี้ของการใช้สารเคมีชีวภาพโบทูลินัมในการรักษาโรคมากกว่า 50 ข้อ ซึ่งรวมทั้งโรคระบบทางเดินอาหารที่มีการหดเกร็งของหูรูดต่างๆ โรคทางโสต ศอ นาสิก และลาริงซ์ คือการพูดลำบากชนิดเกร็ง และภาวะปวดกล้ามเนื้อต่างๆ ตลอดถึงการใช้ในด้านความสวยงาม เช่น การลบรอยย่นที่หน้าผาก และรอยตีนกาในผู้สูงอายุได้ด้วย

There are no comments on this title.

to post a comment.
    ARIT Muban Chombueng Rajabhat University
    46 Chombueng, Chombueng, Ratchaburi 70150, Thailand
    ☎ 0-3226-1790-7, 0-3226-1078