ราชาศัพท์ในภาษากฎหมายไทย (court language in Thai legal language) / สมชาย ธรรมสุทธิวัฒน์.

By: สมชาย ธรรมสุทธิวัฒน์
Material type: ArticleArticleSubject(s): ราชาศัพท์ | ภาษากฎหมาย -- ราชาศัพท์ In: เซนต์จอห์น 5,5 (มกราคม-ธันวาคม 2545) 26-29.Summary: การนำราชาศัพท์มาบัญญัติไว้ในกฎหมาย เนื่องจากพระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นประมุขของรัฐอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ข้อความที่เป็นภาษากฎหมายจึงต้องใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมเป็นไปตามแบบแผน ซึ่งบางคำมีข้อกำหดนโดยเฉพาะ ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์จึงต้องศึกษาและเข้าใจให้อย่างถ่องแท้ทั้งที่เป็นภาษาเขียนและภาษาพูด ดังนั้นราชาศัพท์ที่ปรากฏอยู่ในกฎหมายจึงมีความสำคัญอย่างที่สุดในการใช้ให้ถูกต้องเพราะเป็นเรื่องของสถาบันชั้นสูง
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การนำราชาศัพท์มาบัญญัติไว้ในกฎหมาย เนื่องจากพระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นประมุขของรัฐอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ข้อความที่เป็นภาษากฎหมายจึงต้องใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมเป็นไปตามแบบแผน ซึ่งบางคำมีข้อกำหดนโดยเฉพาะ ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์จึงต้องศึกษาและเข้าใจให้อย่างถ่องแท้ทั้งที่เป็นภาษาเขียนและภาษาพูด ดังนั้นราชาศัพท์ที่ปรากฏอยู่ในกฎหมายจึงมีความสำคัญอย่างที่สุดในการใช้ให้ถูกต้องเพราะเป็นเรื่องของสถาบันชั้นสูง

There are no comments on this title.

to post a comment.
    ARIT Muban Chombueng Rajabhat University
    46 Chombueng, Chombueng, Ratchaburi 70150, Thailand
    ☎ 0-3226-1790-7, 0-3226-1078