ยุทธศาสตร์การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน / นิตยา กมลวัทนนิศา และนิสวันต์ พิชญ์ดำรง.

By: นิตยา กมลวัทนนิศา
Contributor(s): นิสวันต์ พิชญ์ดำรง
Material type: ArticleArticleSubject(s): การพัฒนาเศรษฐกิจ In: เศรษฐกิจและสังคม 40,1 (มีนาคม -เมษายน 2546) 9-14.Summary: ยุทธศาสตร์ชาติในเรื่องการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันนั้น ผู้ที่จะพลักดันให้เกิดผลได้อย่างจริงจัง คือภาคเอกชนหรือประชาชนรัฐมีหน้าที่เพียงเป็นผู้อำนวยความสะดวก (Facilitator) หรือผู้ริเริ่ม (Initiatior) เท่านั้น เนื่องจากหากให้เอกชนเป็นผู้ริเริ่ม บางครั้งจะคิดแบบตัวใครตัวมัน ไม่ได้มองในภาพรวม จากนั้นจึงให้เอกชนสานต่อ โดยรัฐอาจทำหน้าที่เป็นผู้เชื่อมต่อให้กับ เอกชนด้วย รัฐไม่ควรเข้าไปจัดการเองในทุกกเรื่อง นอกจากนี้จะต้องคำนึงอยู่เสมอว่าการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเป็นกลยุทธ์ (strategy) ซึ่งมีความแตกต่างจากการพัฒนา (Developnent) คือในเรื่องกลยุทธ์จะต้องมีการกำหนดการเลือกว่าแต่ละทางเลือกมีข้อดีข้อเสียอย่างไร แล้วจึงตัดสินใจเลือกทางที่เหมาะสมที่สุด การสร้างความเข้าใจถูกต้องตรงกัน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมเป็นสิ่งสำคัญมาก เพื่อให้เกิด ความเข้าใจ ร่วมกัน (Common Ground)จากนั้นจึงมาพิจารณาร่วมกันว่า ต้องการสิ่งใด ไม่ต้องการสิ่งใด เกิดเป็นเป้าหมายร่วมกัน (Common Goal) แล้วจึงพิจารณาว่าถ้าจะไปให้ถึงเป้าหมายจะต้องทำอย่างไร และกำหนดความรับผิดชอบ (Commitment) ภายใต้การวาดฝัน (Vision) เพื่อให้ประเทศมุ่งสู่เป้าหมายที่ต้องการบนพื้นฐานของความเป็นไปได้จริง ซึ่งทั้งหมดนี้ จะนำไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทสและก่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในที่สุด.
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ยุทธศาสตร์ชาติในเรื่องการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันนั้น ผู้ที่จะพลักดันให้เกิดผลได้อย่างจริงจัง คือภาคเอกชนหรือประชาชนรัฐมีหน้าที่เพียงเป็นผู้อำนวยความสะดวก (Facilitator) หรือผู้ริเริ่ม (Initiatior) เท่านั้น เนื่องจากหากให้เอกชนเป็นผู้ริเริ่ม บางครั้งจะคิดแบบตัวใครตัวมัน ไม่ได้มองในภาพรวม จากนั้นจึงให้เอกชนสานต่อ โดยรัฐอาจทำหน้าที่เป็นผู้เชื่อมต่อให้กับ เอกชนด้วย รัฐไม่ควรเข้าไปจัดการเองในทุกกเรื่อง นอกจากนี้จะต้องคำนึงอยู่เสมอว่าการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเป็นกลยุทธ์ (strategy) ซึ่งมีความแตกต่างจากการพัฒนา (Developnent) คือในเรื่องกลยุทธ์จะต้องมีการกำหนดการเลือกว่าแต่ละทางเลือกมีข้อดีข้อเสียอย่างไร แล้วจึงตัดสินใจเลือกทางที่เหมาะสมที่สุด การสร้างความเข้าใจถูกต้องตรงกัน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมเป็นสิ่งสำคัญมาก เพื่อให้เกิด ความเข้าใจ ร่วมกัน (Common Ground)จากนั้นจึงมาพิจารณาร่วมกันว่า ต้องการสิ่งใด ไม่ต้องการสิ่งใด เกิดเป็นเป้าหมายร่วมกัน (Common Goal) แล้วจึงพิจารณาว่าถ้าจะไปให้ถึงเป้าหมายจะต้องทำอย่างไร และกำหนดความรับผิดชอบ (Commitment) ภายใต้การวาดฝัน (Vision) เพื่อให้ประเทศมุ่งสู่เป้าหมายที่ต้องการบนพื้นฐานของความเป็นไปได้จริง ซึ่งทั้งหมดนี้ จะนำไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทสและก่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในที่สุด.

There are no comments on this title.

to post a comment.
    ARIT Muban Chombueng Rajabhat University
    46 Chombueng, Chombueng, Ratchaburi 70150, Thailand
    ☎ 0-3226-1790-7, 0-3226-1078