จรรยาบรรณของนักวิจัย / สุมาลี ไชยศุภรากุล.

By: สุมาลี ไชยศุภรากุล
Material type: ArticleArticleSubject(s): นักวิจัย -- จรรยาบรรณ In: มนุษย์ปริทรรศน์ 1,1 (ภาคเรียนที่ 2/2544) 158-161.Summary: จรรยาบรรณ หรือจริยธรรม คือ ข้อกำหนดในเรื่องของความถูกและความผิด แต่ละอาชีพมีจริยธรรมของตน อาชีพนักวิจัยก็มีจรรยาบรรณที่ต้องยึดถืออย่างเคร่งครัด เนื่องจากการศึกษาของนักวิจัยเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลของบุคคลอื่น ซึ่งอาจเป็นความลับ ส่วนตัว ลักษณะที่ละเมิดจรรยาบรรณ มีลักษณะดังนี้ คือ 1.ปกปิดวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการศึกษา 2.ถามคำถามที่ทำให้ผู้ถูกศึกษาได้รับความอับอาย 3.แอบศึกษาโดยไม่ให้ผู้ถูกศึกษารู้ตัว 4.บิดเบือนข้อมูลที่ได้จากการศึกษา เป็นต้น
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

จรรยาบรรณ หรือจริยธรรม คือ ข้อกำหนดในเรื่องของความถูกและความผิด แต่ละอาชีพมีจริยธรรมของตน อาชีพนักวิจัยก็มีจรรยาบรรณที่ต้องยึดถืออย่างเคร่งครัด เนื่องจากการศึกษาของนักวิจัยเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลของบุคคลอื่น ซึ่งอาจเป็นความลับ ส่วนตัว ลักษณะที่ละเมิดจรรยาบรรณ มีลักษณะดังนี้ คือ 1.ปกปิดวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการศึกษา 2.ถามคำถามที่ทำให้ผู้ถูกศึกษาได้รับความอับอาย 3.แอบศึกษาโดยไม่ให้ผู้ถูกศึกษารู้ตัว 4.บิดเบือนข้อมูลที่ได้จากการศึกษา เป็นต้น

There are no comments on this title.

to post a comment.
    ARIT Muban Chombueng Rajabhat University
    46 Chombueng, Chombueng, Ratchaburi 70150, Thailand
    ☎ 0-3226-1790-7, 0-3226-1078