การศึกษากฎหมายด้านทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย / เจษฎ์ โทณะวณิก.

By: เจษฎ์ โทณะวณิก
Material type: ArticleArticleSubject(s): ทรัพยากรธรรมชาติ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ In: ชีวปริทรรศน์ 4,4 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2545) 55-58.Summary: กฎหมายไทยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพแบ่งเป็น 6 กลุ่มคือ 1. การเข้าถึง หมายถึงการเข้าไปใช้หรือแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพ 2. การใช้ประโยชน์ หมายถึง การนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในทุกรูปแบบ 3. การแบ่งปันผลประโยชน์ หมายถึง การนำผลประโยชน์ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อมจากการใช้ประโยชน์อันเป็นการนำทรัพยากรชีวภาพมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ดัดแปลง หรือกระทำการใดๆ โดยอาศัยเทคโนโลยีชีวภาพ 4. การฟื้นฟู หมายถึง การทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพกลับคืนสู่สภาพเดิม 5. การอนุรักษ์ถิ่น หมายถึง การป้องกันหรือควบคุมการกระทำที่อาจเป็นการทำลายที่เน้นเขตรักษาทรัพยากรชีวภาพ 6. การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ หมายถึง การกำหนดให้มีการประเมินความปลอดภัยของทรัพยากรชีวภาพ
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

กฎหมายไทยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพแบ่งเป็น 6 กลุ่มคือ 1. การเข้าถึง หมายถึงการเข้าไปใช้หรือแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพ 2. การใช้ประโยชน์ หมายถึง การนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในทุกรูปแบบ 3. การแบ่งปันผลประโยชน์ หมายถึง การนำผลประโยชน์ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อมจากการใช้ประโยชน์อันเป็นการนำทรัพยากรชีวภาพมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ดัดแปลง หรือกระทำการใดๆ โดยอาศัยเทคโนโลยีชีวภาพ 4. การฟื้นฟู หมายถึง การทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพกลับคืนสู่สภาพเดิม 5. การอนุรักษ์ถิ่น หมายถึง การป้องกันหรือควบคุมการกระทำที่อาจเป็นการทำลายที่เน้นเขตรักษาทรัพยากรชีวภาพ 6. การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ หมายถึง การกำหนดให้มีการประเมินความปลอดภัยของทรัพยากรชีวภาพ

There are no comments on this title.

to post a comment.
    ARIT Muban Chombueng Rajabhat University
    46 Chombueng, Chombueng, Ratchaburi 70150, Thailand
    ☎ 0-3226-1790-7, 0-3226-1078