ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ในโรงเรียนแกนนำ (Record no. 8270)

000 -LEADER
fixed length control field 04782 ab a2200169 4500
001 - CONTROL NUMBER
control field vtls000008272
003 - CONTROL NUMBER IDENTIFIER
control field MTX
008 - FIXED-LENGTH DATA ELEMENTS--GENERAL INFORMATION
fixed length control field 030319 2545 m 0 0eng
035 ## - SYSTEM CONTROL NUMBER
System control number 0011-03860
039 #9 - LEVEL OF BIBLIOGRAPHIC CONTROL AND CODING DETAIL [OBSOLETE]
Level of rules in bibliographic description 201208301720
Level of effort used to assign nonsubject heading access points VLOAD
-- 200912141906
-- VLOAD
100 ## - MAIN ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name กำพล ฤทธิ์รักษา.
9 (RLIN) 9345
245 ## - TITLE STATEMENT
Title ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ในโรงเรียนแกนนำ
Statement of responsibility, etc. / กำพล ฤทธิ์รักษา และเศาวนิต เศาณานนท์.
520 ## - SUMMARY, ETC.
Summary, etc. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัจจัยการบริหาร ระดับการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ในโรงเรียนแกนนำปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา ดำเนินการวิจัยโดยใช้กรอบแนคิดของ Richard M. Steers ที่จำแนกปัจจัยที่ส่งผลออกเป็น 4 ด้าน คือ ลักษณะขององค์กร ลักษณะของสภาพแวดล้อม ลักษณะของบุคคลในองค์กร และลักษณะของนโยบายการบริหารและการปฏิบัติ ผลการวิจัยพบว่า 1.ปัจจัยการบริหารในโรงเรียนแกนนำปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ทั้งโดยภาพรวมแต่ละด้าน เรียงลำดับการปฏิบัติจากมากไปหาน้อยดังนี้ คือ ลักษณะของบุคคลในองค์การ ลักษณะของสภาพแวดล้อม ลักษณะของนโยบายการบริหารและการปฏิบัติ และลักษณะขององค์การ 2. การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ในโรงเรียนแกนนำปฏิรูปการเรียนรู้ มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ทั้งโดยภาพรวมแต่ละด้าน เรียงลำดับการปฏิบัติจากมากไปหาน้อยดังนี้คือ การเรียนรู้อย่างมีความสุข การเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น การเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ของตนเอง การเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง และการเรียนรู้แบบองค์รวม 3. ปัจจัยย่อยในปัจจัยการบริหารส่งผลต่อการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ .05 เรียงลำดับความสำคัญจากมากไปหาน้อยดังนี้ คือ การจัดหาและใช้ทรัพยากร การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ การจูงใจ การกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน และเทคโนโลยีมีความสามารถในการทำนายการปฏิรูปกระบวนการเรียนรูในโรงเรียนแกนนำปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ได้ร้อยละ 54.60
650 ## - SUBJECT ADDED ENTRY--TOPICAL TERM
Topical term or geographic name entry element การปฏิรูปการเรียนรู้.
9 (RLIN) 776
700 ## - ADDED ENTRY--PERSONAL NAME
Personal name เศาวนิต เศาณานนท์.
9 (RLIN) 9346
773 ## - HOST ITEM ENTRY
Title ราชพฤกษ์
Related parts 1,1 (พฤศจิกายน 2545) 18-27.

No items available.

    ARIT Muban Chombueng Rajabhat University
    46 Chombueng, Chombueng, Ratchaburi 70150, Thailand
    ☎ 0-3226-1790-7, 0-3226-1078